วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 25 ตุลาคม 2559  ครั้งที่ 12
เวลาเรียน 08.30-12.30 น.
เนื้อหาที่เรียน









วันนี้อาจารย์ให้เเต่ละกลุ่มนำงานสัปดาห์ที่เเล้วมานำเสนอ เพื่อที่จะดูว่าเเก้ไขตามที่อาจารย์เเนะนำหรือครบถ้วนหรือไม่ เเต่ละกลุ่มก็ยังมีข้อผิดพลาดอยู่ว่า การใช้ภาษาสื่อสารให้เด็กเข้าใจ การเขียนมายเเมบ เเละอาจารย์ยังให้ หลักการเขียนมายเเมบ ดังนี้
1.จำเป็นภาพเส้นสมอง
2.เเบ่งโซนเส้นสมองให้เเต่เส้นอยู่กึ่งกลาง
3.เเต่ละเส้นควรออกเเบบเป็นสีคนละสี


หลังจากนั้นอาจารย์ได้อธิบายในเเต่ละหัวข้อ ประเภท ลักษณะ ปัจจัยการดำรงชีวิต ประโยชน์ ข้อควรระวัง ที่เเบ่งตามเเต่ละหน่วยโดยคิดกิจกรรมให้เชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์ มาตรฐานสาระ ทั้ง 8 สาระดังนี้
1.สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
2.ชีวิตกับสิ่งเเวดล้อม
3.สารเเละสมบัติของสาร
4.เเรงเเละการเคลื่อนที่
5.พลังงาน
6.กระบวนการเปลี่ยนเเปลงของโลก
7.ดาราศาสตร์เเละอวกาศ
8.ธรรมชาติของวิยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี เเล้วอาทิตย์มาดูกันว่าเเต่ละกลุ่มจะนำเสนอกิจกรรมกัน

คำศัพท์

กระบวนการเปลี่ยนเเปลงของโลก - The process to convert it into the world.
ดาราศาสตร์ - astronomy
อวกาศ - space
เทคโนโลยี - Technology
กิจกรรม - activities

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำหลักการทำมายเเมบมาประยุกต์ได้ทุกวิชา เพื่อให้เด็กนั้นจำภาพเป็นเส้นสมองได้นานๆ
 ประเมินตนเอง
  • จดบันทึก ปรุงเปลี่ยนเเก้ไขสิ่งที่ขาด ตั้งใจฟัง มีการตอบโต้สนทนาเล็กน้อยกับอาจารย์

ประเมินเพื่อน
  • เพื่อนตั้งใจฟัง ช่วยตอบคำถาม ตั้งใจร่วมกิจกรรม

ประเมินอาจารย์
  • พูดน้ำเสียงชัดเจน กระตุ้นให้นักศึกษาตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา เเต่งกายสุภาพเรียบร้อย

วันอังคารที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 18 ตุลาคม 2559  ครั้งที่ 11
เวลาเรียน 08.30-12.30 น.
เนื้อหาที่เรียน


หลักการการเลือกหน่วยการสอนให้เมาะกับเด็กปฐมวัย
1.เรื่องใกล้ตัวเด็กเช่น ธรรมชาติรอบตัวเด็ก
2.เรื่องผลกระทบกับเด็ก เช่น น้ำเน่า ขยะ
3.เรื่องที่เด็กอยากรู้
3ขั้อที่กล่าวมาล้วนเป็นสาระสำคัญที่อยู่ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
บูรณาการ หมายถึง เชื่อมโยงความสัมพันของหลายๆวิชา ผ่านหน่ยวหรือหัวเรื่องที่เราเลือก
จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการ ให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ โดยลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เลือกเเละตัดสินใจด้วยตนเอง มีอิสระ ทำให้เด็กมีประสบการที่หลากหลาย เกิดการเรียนรู้ต่อยอดไปอีก
เครื่องมือการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
1.ภาษา คำพูด สัญลักษณ์
2.คณิตศาสตร์ 
มาตรฐานสาระ 1.จำนวน
 2.การวัด 
3.รูปทรงเรขาคณิต 
4.พีชคณิต
3.วิทยาศาสตร์ 
มาตรฐานสาระ 
1.สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
2.ชีวิตกับสิ่งเเวดล้อม
3.สารเเละสมบัติของสาร
4.เเรงเเละการเคลื่อนที่
5.พลังงาน
6.กระบวนการเปลี่ยนเเปลงของโลก
7.ดาราศาสตร์เเละอวกาศ
8.ธรรมชาติของวิยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี


หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้เลือกหน่วยที่จะสอน 
กลุ่มดิฉันจึงเลือกหน่วยปลา เพื่อที่ใช่สอนให้ครบ 5 วัน
ได้หัวข้อดังนี้

  
กลุ่มของเพื่อน มีหน่วยดังนี้


หน่วย ต้นไม้ 


หน่วย ยานพาหนะ


หน่วย อากาศ


หน่วยดอกไม้


หน่วย ผลไม้ เเละอีกกลุ่ม หน่วยไข่

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำหน่วยที่เลือกมาสอนบูรณาการกับวิชาอื่นๆได้ อย่างเช่น ศิลป คณิตศาสตร์

 ประเมินตนเอง
  • จดบันทึก ปรุงเปลี่ยนเเก้ไขตามหัวเรื่องที่อาจารย์บอกเเต่หัวข้อย่อยในการสอน

ประเมินเพื่อน 
  • เพื่อนตั้งใจฟัง ช่วยตอบคำถาม ตั้งใจร่วมกิจกรรม

ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์อธิบายเข้าใจง่าย เห็นภาพที่ชัดเจน ช่วยเเก้ไขปรับเปลี่ยนคำพูดให้เหมาะกับการใช้สอนเด็กให้เข้าใจง่ายขึ้น เเต่งกายสุภาพ เรียบร้อย

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 11 ตุลาคม 2559  ครั้งที่ 10
เวลาเรียน 08.30-12.30 น.
เนื้อหาที่เรียน



วันนี้อาจารยให้เขียนขั้นตอนการทำของเล่น โยใช้ภาษาที่่ให้เด็กเข้าใจง่าย สั้นๆ กระชับ โดยใช้รูปเเบการเขียนแบบกราฟฟิกเพื่อที่ให้เด็กเข้าใจง่าย

หลังจากนั้นให้เเบ่งกลุ่มเลือกของเล่นที่จะนำไปใช้สอนเด็กโดยกลุ่มฉันเลือกหลอดเลี้ยงลูกบอลเพราะว่าเด็กสามารถทำได้ ทำจากวัสดุที่เหลือใช้ หลังจากนั้นก็ได้วางเเผนการสอน

สรุปการสอน
ขั้นเเรกคือ เราจะทำสื่อการสอนเป็นอุปกรณ์ ขั้นตอนการทำหลอดเลี้ยงลูกบอลโดยการใช้คลิปวีดีโอลงยูทูป จากนั้นขั้นสอน นำอุปกรณ์ออกมาวางให้เด็กดูเเล้วถามเด็กว่าสิ่งนี้คืออะไร สามารถนำมาประดิษฐ์ของเล่นได้หรือไม่ เเล้วถามต่ออีกว่าจะทำยังไงที่จะทำให้สิ่งของลอยอยู่บนอากาศได้นาน ครูจึงบอกว่าลองหาข้อมูลดีกว่าว่ามีอะไรบ้าง ครูเปิดคลิปการสอนที่อัพลงในยูทูปให้เด็กดู เเล้วสาธิตขั้นตอนการทำให้เด็กดู หลังจากนั้นให้เด็กทำ เเล้วนำของเล่นเเต่คนมาเเข่งกันว่าของคนไหนสามารถทำให้ลูกบอลลอยได้นานที่สุด โดยใช้นาฬิกาทรายจับเวลา เเล้วนำของข้อมูลการเเข่งขันมาสรุปผลเป็นกราฟเเท่ง


เมื่อวางแผนเสร็จอาจาย์ให้เเต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอ เพื่อที่อาจารย์จะได้ปรับปลี่ยนคำพูดให้เด็กเข้าใจง่ายขึ้น

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำกิจกรรมไปใช้สอนเด็กได้ โดยประยุกต์ให้สอดคล้องกลับการสอนเเบบสะเต็ม 
 ประเมินตนเอง
  • ระดมความคิดช่วยเพื่อน
ประเมินเพื่อน
  • เพื่อนก็ช่วยกันปรับเปลี่ยนคำพูดในขั้นตอนการสอนให้กระชับเพื่อให้เด็กเข้าใจง่าย
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์สอนเทคนิคการใช้ภาษากับเด็กว่า ใช้คำที่ให้เด็กเข้าใจง่าย สั้น กระชับ

วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 4 ตุลาคม 2559  ครั้งที่ 9
เวลาเรียน 08.30-12.30 น.

เนื้อหาที่เรียน

วันนี้อาจารย์ให้พี่ปี 5 เขามาสอนการทำ cooking






เริ่มเเรกพี่จะร้องเพลงเก็บเด็ก เเล้วร้องเพลงพายเรือ เพื่อจับกลุ่ม 
หลังจากนั้นก็ให้เด็กๆอ่านอุปกรณ์ ส่วนผสม ขั้นตอนการทำcooking 

หลังจากนั้นก็สาธิตการทำcooking ให้เด็กดู โดยหาเด็กมาช่วยในการทำ 1 คน
ขั้นเเรกเริ่มด้วยการตัดรอบขนมปัง เเล้วรีดขนมปังให้แบน

เมื่อรีดเสร็จคือสามารถถามคือ คุยกับเด็กได้ว่า ขมนปังมีลักษณะรูปอะไร เมื่อรีดเเล้วใหญ่กว่าเดิมรึปาว


เมื่อเสร็จ นำกล้วยมาหั่นใส่ขนมปัง 3 ชิ้น เเล้วพับครึ่งขมนปังก็จะได้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า


หลังจากนั้นก็นำขนมปังไปชุปไข่

เเล้วนำมาทอด สามรถถามว่าจะรู้ได้ไงว่าน้ำมันร้อนเเล้ว พูดคุยกับเด็กเรื่อยๆเวลาที่ทำ ให้ขมนปังเป็นสีเหลือง เเล้วตักขึ้นมาพักไว้


ระว่างรอกระดาษมาตัดเพื่อนที่รองจานใส่ cooking พร้อมกับทำสัญลักษณ์ติดไว้กับซ้อม เพื่อที่เด็กจะได้รู้ว่านี้คือจานของเขา

เเล้วนำมีดมาหั่นเป็นชิ้น


ตักใส่จาน ใส่นมข้นหวาน น้ำตาล พร้อมรับประทานค่ะ

เมื่อสาธิตเสร็จเเล้วก็เด็กทุคนนั่งประจำกลุ่ม เเล้วลงมือทำตามขั้นตอนดังกล่วา









เสร็จเเล้วคะ 

คำศัพท์

cooking - การปรุงอาหาร
bread - ขนมปัง
the sugar - น้ำตาล
vegetable oil - น้ำมันพืช
Pan - กะทะ

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำกิจกรรมไปใช้สอนเด็กได้ อาจจะเปลี่ยนกิจกรรมเป็น เเชนวิสขมนปัง เป็นต้น
  • สามารถบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ จากการเช่น การสังเกตน้ำมันร้อนหรือยัง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของขมนปังเมื่อทอดเสร็จ
  • สามารถสอนเเบบ สเต็มได้ด้วย A คือ การตกเเต่งสอนให้สวยงามน่ากิน E คือ การออกเเบบการพับเเละรีดขอบขนมปังให้เเน่น S คือการสังเกตการเเปลี่ยนของสีขนมปังเมื่อทอดเสร็จ M คือ การนับจำนวนกล้วยใส่กี่ชิ้น T คือ การใช้กะทะไฟฟ้าในการทอดสามารถอธิบายให้เด็กได้
 ประเมินตนเอง
  • ตั้งใจทำ เเละสังเกตเทคนิคการสอนของพี่เเต่คนเพื่อนำไปใช้ในการฝึกสอน
ประเมินเพื่อน
  • เพื่อนตั้งใจฟัง เเละซักถามตอบโต้กับพี่อยู่ตลอดเวลา
ประเมินอาจารย์
  • ถึงเเม้อาจารย์ไม่ได้สอนเเต่ก็มีรุ่นพี่ที่มีประการณ์มาสอน ทำให้เห็นภาพในการสอนเด็กมากขึ้น ขอบคุนอาจารย์ที่มอบโอกาสดีๆให้กับพวกเรา